zwani.com myspace graphic comments

Profile

รูปภาพของฉัน
Miss Sirinya Jaithong Student ID.5411201691 No.6 early childhood education.

วันศุกร์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนครั้งที่3

วันที่ 16 พฤศจิกายน  2555

วันนี้อาจารย์ให้จับกลุ่มกับเพื่อนในห้องและให้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน และสรุปงานที่ได้ให้ไปหามาในอาทิตย์ที่แล้ว

(กำลังเตรียมตัวนำเสนอค่ะ )


( แลกเปลี่ยนความเห็นกันอยู่จ้า )



( ตั้งใจทำกันมาก ๆๆ )

โดยสมาชิกในกลุ่มของดิฉันมีดังนี้
1.นางสาวศิรินยา ใจทอง
2.นางสาวชลดา มั่นคง
3.นางสาวพัชรวี สิริเวชพันธ์

และได้สรุปสิ่งที่หามาร่วมกันดังนี้

1.ความหมายของคณิตศาสตร์

     คณิตศาสตร์เป็นความรู้แขนงหนึ่งที่มีหลัการและวิธีการที่แน่นอนและเป็นไปอย่างมีเหตุผล ซึ้งสามารถนำไปใช้ในหารแก้ไขปัญหาต่างๆได้

อ้างอิงจาก
1.วิจิตรา อุปการนิติ.หลักคณิตสาสตร์
2.ฉวีวรรณ ถีรติกร.เอกสารการสอนชุดวิชาการสอนกลุ่มทักษะ(คณิตศาสตร์)
3.มาร์เชล สโตน.พฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา

2.จุดประสงค์ของการเรียนคณิตศาสตร์

      เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะในด้านต่างๆ
- การเขียน ได้แก่ การจดบันทึก,การจดตัวเลข
- การพูด ได้แก่ การนับตัวเลข,การบอกเวลา,การบอกสัญลักษณ์
- การอ่าน ได้แก่ การเล่านิทาน
- การคิดคำนวน ได้แก่ การบวก การลบ

อ้างอิงจาก
1.วิจิตรา อุปการนิติ.หลักคณิตสาสตร์
2.ฉวีวรรณ ถีรติกร.เอกสารการสอนชุดวิชาการสอนกลุ่มทักษะ(คณิตศาสตร์)
3.มาร์เชล สโตน.พฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา

3.ทฤษฏี

     ทฤษฏีของการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย สามารถแบ่งได้ 3 ทฤษฏี
1.ทฤษฏีการฝึกฝน คือ เชื่อว่าเด็กจะเรียนรู้ได้โดยการฝึกฝนทำสิ่งนั้นซ้ำๆ
2.ทฤษฏีการเรียนรู้โดยบังเอิญ คือ เด็กจะเรียนรู้ได้ต้องเกิดความพร้อม
3.ทฤษฏีแห่งความหมาย คือ เด็กจะเรียนรู้ได้เมื่อสิงนั้นมีความหมายต่อตนเอง

อ้างอิงจาก
1.วิจิตรา อุปการนิติ.หลักคณิตสาสตร์
2.ฉวีวรรณ ถีรติกร.เอกสารการสอนชุดวิชาการสอนกลุ่มทักษะ(คณิตศาสตร์)
3.มาร์เชล สโตน.พฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา

4.ขอบข่ายของคณิตศาสตร์

1.การนับ
2.การจำแนก
3.ตัวเลข
4.การสังเกต
5.หาความสัมพันธ์

อ้างอิงจาก
1.กมลรัตน์ กมลสุทธิ.ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้จากการจัดประสบการณ์แบบมอนเตสเชอรี่
2.ฉวีวรรณ ถีรติกร.เอกสารการสอนชุดวิชาการสอนกลุ่มทักษะ(คณิตศาสตร์)
3.มาร์เชล สโตน.พฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา

5.หลักการสอน

1.สอนให้เข้าใจ คือ ผู้สอนต้องถามความรู้เดิมของผู่เรียนก่อน
2.สอนเนื้อหาไหม่ ค์อ ต้องอาศัยประสบการณ์และเนื้อหาที่ต่อเนื่องกับความรู้เดิม
3.การปฏิบัติทางคณิต คือ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
4.สอนให้ซึมซาบ คือ ผู้สอนจะเข้าใจทีละน้อย
5.สอนให้เกิดความรู้ถาวร คือเมื่อสอนถูกต้องแล้ว ให้ทำแบบฝึกหัด

อ้างอิงจาก
1.วิจิตรา อุปการนิติ.หลักคณิตสาสตร์
2.ฉวีวรรณ ถีรติกร.เอกสารการสอนชุดวิชาการสอนกลุ่มทักษะ(คณิตศาสตร์)
3.มาร์เชล สโตน.พฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น