zwani.com myspace graphic comments

Profile

รูปภาพของฉัน
Miss Sirinya Jaithong Student ID.5411201691 No.6 early childhood education.

วันศุกร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนครั้งที่ 6

วันที่  9  ธันวาคม 2555
อาจารย์ถามว่ากล่องที่เอามานักศึกษาสามารถนำมาใช้กับคณิตศาสตร์ยังไง
1.การนับ  คือ ให้เด็กได้นับจำนวนกล่อง
2.ตังเลข  ให้เด็กดูตัวเลข
3.การจับคู่  คือ ให้เด็กจับคู่กล่องที่มีลักษณะคล้ายกัน
4.การจัดประเภท  ต้องกำหนดเกณฑ์ให้เด็กว่าเด็กต้องแยกกล่องลักษณะแบบไหน
5.การเปรียบเทียบ ต้องวัดให้เด็กดูก่อนแล้วให้เด็กเปรียบเทียบขนาดของกล่อง
6.การเรียงลำดับ  เมื่อวัดความยาวของกล่องแล้วก็ให้เด็กเีรยงลำดับความยาว
7.รูปร่างรูปทรง  ให้เด็กดูว่ามีลักษณะแบบไหน
8.การวัด  ควรวัดแบบใช้นิ้ว  
9.เซต ให้เด็กแยกลักษณะของกล่องตามลักษณะที่คล้ายกัน
10.เศษส่วน  ให้เด็กนับจำนวนกล่องทั้งหมดก่อน
11.การทำตามแบบ  คือ จักกล่องตามครู
12.อนุรักษ์  

 จากนั้นอาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 11 คน  แล้วเอากล่องมาประดิษเป็นรูปอะไรก็ได้โดยมีเกณฑ์ดังนี้

1.กลุ่มที่ 1  สามารถคุยกันในกลุ่มได้  ซึ่ง จะเกิดการวางแผนและมีการแก้ปัญหาในตอนนั้นเลย

2.กลุ่มที่ 2 สามรถคุยกันได้แต่ต้องนำกล่องมาวางที่ละกล่อง  มีการแก้ปัญหาทีละขั้น

3.กลุ่มที่ 3 ห้ามพูดคุยกัน  เกิดการแก้ปัญหามาที่สุด 



(  ผลงานของเราค่ะ หุ่นยนย์ )


( ผลงานเราสวยไหมค่ะ )

บันทึกการเรียนครั้งที่ 5

วันที่  23 พฤศจิกายน  2555
อาจารย์อธิบายขอบเขตคณิตศาสตร์ของ  นิตยา  ประฤติกิจและอาจารย์เยาวภา  ซึ่งอาจารย์ได้อธิบายว่าขอบเขตของคณิตสามารถนำมาสอนเด็กปฐมวัยได้ทุกข้อและสามารถนำมาบูรณการให้เข้ากันได้  ซึ่งขอบข่ายสามารถสรุปได้ดังนี้

ขอบข่ายคณิตศาสตร์  ของ นิตยา  ประพฤติกิจ

ขอบข่ายคณิตศาสตร์ของ อาจารย์เยาวภา
ขอบข่ายคณิตศาสตร์ของนิตยา  ประพฤติกิจ  มีรายละเอียดดังนี้
1.การนับ  คือ  การแทนค่าหรือเครื่องหมาย
2.ตัวเลข  คือ  การแทนค่าด้วยตัวเลขฮินดูอารบิก
3.การจับคู่  เช่น  จำนวนที่เท่ากัน  รูปร่างรูปทรง  เลขคู่เลขคี่  สูงต่ำ  ปรอมาร
4.การจัดประเภท  ต้องมีการกำหนดเกณฑ์ขึ้น  เช่น  ให้เด็กแยกผลไม้รสหวาน
5.การเปรียบเทียบ  คือ  ต้องมีการหาค่า  แล้วเปรียบเทียบ  ซึ่งต้องให้เด็กได้เป็นผู้ลงมือกระทำเอง
6.การจัดลำดับ คือ ต้องหาค่าก่ือนแล้วให้เด็กเปรียบเทียบแล้วจึงวางเรียงลำดับ
7.รูปร่างและรูปทรง  คือ ต้องมีความ ยาว ความลึกและความสูง
8.การวัด  คือ การหาค่าทุกอย่างและต้องมีเครื่องมือ
9.เซต  คือ การจัดประเภทของที่มีคุณสมบัติคล้้ายกัน
10.เศษส่วน  ต้องทำให้เด็กรู้จักคำว่า "ทั้งหมด" ก่อนแล้วจึงตามด้วยคำว่า "ครึ่ง"
11.การทำตามแบบหรือลวดลาย  
12.อนุรักษ์  เช่น  การที่มีปริมาณเท่ากันแต่บรรจุในแก้วที่มีขนาดสูงกับเตี้ย  เด็กจะตอบว่าแก้วที่มีความสูงจะมีปริมาณน้ำมากกว่า

ขอบข่ายคณิตศาสตร์ของอาจารย์เยาวภา  มีรายละเอียดดังนี้
1.การจัดกลุ่มหรือเซต  คือ การทำให้เด็กรู้จำนวนและการรวมกลุ่ม
2.จำนวน  คือ  การทำให้เด็กรู้จักค่าและฝึกการนับ
3.ระบบจำนวน  คือการแทนค่าตัวเลขด้วยเลขฮินดูอารบิก
4.ความสัมพันธ์ระหว่างเซต
5.การรวมกลุ่ม  คือ  การบวกเลข
6.ลำดับที่  คือ  การเรียงลำดับ
7.การวัด  เป็นการหาค่า
8.รูปทรงเรขาคณิต
9.สถิติและกราฟ  คือ  การนำเสนอข้อมูลทุกอย่างที่หาค่าได้

งานที่ได้รับมอบหมาย
1.สัปดาห์หน้าให้เอากล่องแบบไหนก็ได้มา
2.ให้จับคู่แล้วและหาวิธีการสอนคณิตโดยยึดหลักขอบข่ายคณิตศาสตร์ของนิตยา  ประพฤติกิจ